Picture from:http://studentsforliberty.org/blog/how-to-write-more-effectively-for-liberty/
- การทำงานเป็นคู่ การทำงานเป็นกลุ่ม ที่ช่วยการสื่อสารระหง่างนักเรียน
- แบบฝึกหัดจะมีสองหรือสามส่วน เพื่อที่จะไม่ยาวเกินไป และไม่ทำให้น่าเบื่อ นักเรียนจะต้องทำส่วนแรกให้เสร็จเพื่อที่จะสามมารถทำส่วนที่สองได้
- ส่วนที่สำคัญที่สุด คือ การที่จะให้นักเรียนใช้จิตนาการ
- แบบฝึกนี้ต้องการให้นักเรียนสร้างความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดและคำพูดที่เป็นภาษาเขียน
และด้วยขั้นตอนการฝึกข้างต้น วิธีการคิดสร้างสรรรค์ เพื่อการสอนการเขียน
ตัวอย่างของแบบฝึกหัด
1 What would happen if..........?
( กระตุ้นการทำงานเป็นกลุ่ม/งานคู่)
ให้นักเรียนเขัยนองค์ประกอบโดยใช้หนึ่งความคิดต่อไปนี้
1. ... if a crocodile came into the class to study English?
2. ... if one day we found the streets in our city covered with grass and flowers?
3. ... if I invited an Extraterrestrial to have lunch at home?
พยายามกระตุ้นให้นักเรียนค้นหาแนวความคิดใหม่ๆ
โดยใช้ประโยคเงื่อนใข(If cluases) ประเภทที่สอง
2. ทำบทกวีให้สมบูรณ์
ขั้นแรก: ให้นักเรียนเลือกบทขึ้นต้นบทกวีจากที่ครูกำหนดให้ และเขียนเติมเต็มบทกวีนั้นตามที่ต้องการ
ขั้นที่สอง: ให้นักเรียนมาอ่านบทกวีให้เพื่อนฟังหน้าห้อง แล้วให้สมาชิกช่วยกันเลือกอันที่ดีที่สุด ครูนำผลงานของนักเรียนติดแสดงบนผนังห้อง
3. ปริศนา
ทำงานกลุ่ม
ขั้นที่แรก: ให้นักเรียนเขียนปริศนาตามคำแนะนำต่อไปนี้
บรรทัดแรก-เขียนวุตถุสิ่งแรกที่เห็น
บรรทัดที่สอง-อธิบายวัตถุสิ่งนั้นกับสิ่งที่เคยเห็นหรือรู้จัก
ขั้นที่สอง: เมื่อนักเรียนเขียนปริศนาแล้ว ให้ทายว่าสิ่งนั้นคืออะไร
4. เรื่องราวลูกโซ่
เตรียมรายการคำถามที่เกี่ยวข้องกับTense ที่ครูต้องสอน/ฝึก
Who was she/he/it? Where was she/he/it?
What was she/he/it doing? What did she/he/it say?
What did she/he/it say to the people?
How did the story finish?
ทำงานเป็นกลุ่ม
ขั้นที่หนึ่ง: ให้นักเรียนนำกระดาษออกมาคนแรกเขียนคำตอบแรก พับกระดาษขึ้นมาปิดคำตอบไว้ ส่งให้เพื่อนในกลุ่มตอบคำถามต่อไป เมื่อตอบเสร็จก็พับกระดาษปิดคำตอบไว้ ทำอย่างนี้เรื่อยๆ จนตอบคำถามครบทุกข้อ
ขั้นที่สอง: ให้สมาชิกคลี่กระดาษทั้งหมดออก ล้วนำคำตอบทั้งหมดมาเขียนเป็นเรื่องราวสั้นๆ โดยนำประโยคมาต่อกัน ในกระดาษแผ่นใหม่
ขั้นที่สาม: ให้นักเรียนมาอ่านเรื่องที่ได้ และเลื่อกส่วนที่ไม่เข้าพวก
5. เรื่องสั้นที่รู้จักกันดีกับวิธีบอกต่อ
ให้นักเรียนเขียนเรื่องเล่า นิทาน ที่เป็นที่รู้จักกันดี โดยเขียนองค์ประกอบในเรื่องที่มีความแตกต่างกับความจริง เช่น ตัวละครชั่วร้ายกลับกล้ายเป็นคนดี
6. แล้วเกิดอะไรขึ้น and then what happen?
ให้นักเรียนเขียนเรื่องแบบดั้งเดิม ในแบบที่เป็นที่รู้จัก
7. THE BEGINNING OF A STORY ให้นักเรียนเขียนเริ่มต้นเรื่อง
เช่นLast week I went to visit Frankenstein...... . ให้นักเรียนเขีขยเรื่องให้สมบูรณ์
8. PICTURE COMPOSITION องค์ประกอบของภาพ
งานคู่
ขั้นแรก: ให้นักเรียนสองคนวาดภาพลงในกระดาษแผ่นเดียวกัน
ขั้นที่สอง: แต่ละคนเขียนอธิบายองค์ประกอบภาพของตัวเอง
ขั้นที่สาม: แต่ละคู่พูดคุยสนทนาเกี่ยวกับภาพที่วาด ว่าดีหรือไม่อย่างไร
9. CREATIVE ERRORS จินตนาการที่ผิดพลาด
ให้นักเรียนดูข้อผิดพลาดต่าง ๆ ที่อาจเป็นไปได้
งานกลุ่ม/คู่
ขั้นแรก: ให้นักเรียนนิยามความหมายของคำ(ผิด)
ขั้นที่สอง: เขียนเรื่องสั้นๆ กับคำผิดเหล่านั้น
Example: a three (for a tree) = a tree that stands between a second and a fourth tree
a legg (for a leg) = a leg with two feet a buk (for a book) = a book in which all the words start with u
bluetiful = something beautiful and blue
10. CHOOSE THE PREFIX เลือกคำนำหน้า
ให้นักเรียนทำแบบฝึกเกี่ยวกับ Perfixes
11. NEWSPAPER HEADLINES พาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์
ตัดพาดหัวข่าวจากหนังสือพิมพ์ มาแจกให้นักเรียน
งานกลุ่ม
แจกคำพาดหัวข่าวให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม แต่ละกลุ่มนพาดหัวข่าวมาเรียงต่อกันให้เป็นข่าวที่สนุก และเขียนเรื่องราวข่าวนั้นตามพาดหัวข่าว
Reference : CARMEN MANUEL CUENCA AND RODRIGO FERNÁNDEZ CARMONA." An Imaginative Approach to Teaching Writing" English Teaching Forum 2012: 45-46. Print.
0 ความคิดเห็น:
Post a Comment